บทความชีวภัณฑ์
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์บาซิทัส เป็นชีวภัณฑ์ชนิดผงพร้อมใช้งานที่ผลิตจาก แบคทีเรียบาซิลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) สายพันธุ์ บีเอส ดีโอเอ-24 มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum ในพืชตระกูลมะเขือ เช่น พริก มะเขือเทศ มะเขือเปราะ มะเขือยาว มันฝรั่ง พืชตระกูลขิง ได้แก่ ขิง ขมิ้น ปทุมมา
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1550 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์“ทุเรียน” ผลไม้ยอดนิยมของเมืองไทยที่หลายคนหลงรัก แถมจะออกผลผลิตแค่ปีละ 1 ครั้งเท่านั้น จึงทำให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคจำนวนมาก อย่างไรก็ตามปัญหาใหญ่ของชาวสวนทุเรียนที่มักพบเจอในเรื่องโรคของพืชนั่นคือ “โรคใบติด” มาทำความรู้จักกับโรคนี้พร้อมวิธีแก้ปัญหาด้วย “บาซิลลัส ซับทิลิส” ก็ช่วยให้ได้ผลผลิตอย่างที่ต้องการ
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 826 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราฟิวซาเรียม ( Fusarium sp.) เป็นเชื้อราสาเหตุโรคพืชที่อาศัยอยู่ในดิน สามารถเข้าทำลายพืชได้เกือบทุกชนิดและเข้าทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช เชื้อสามารถพักตัวอยู่ในดินได้หลายปี ทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว
30 ก.ค. 2567
ผู้ชม 3707 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์นอกจากเชื้อราไฟทอปธอรา (Phytophthora spp.) ที่เป็นสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าแล้ว โรคกิ่งแห้งที่เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม (Fusarium sp. ) ถือว่าเป็นโรคที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหายกับต้นทุเรียนทุกระยะการเจริญเติบโต
30 ก.ค. 2567
ผู้ชม 17604 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์มาทำความรู้จักและวิธีป้องกันควบคุมโรคเหี่ยว โรคสำคัญที่ส่งผลต่อผลผลิตโหระพาและกะเพราโดยตรงได้ที่บทความนี้ค่ะ
30 ก.ค. 2567
ผู้ชม 12021 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัญหาในการปลูกผักใบ ส่วนใหญ่ก็คือ เมื่อปลูกผักแล้วจะมีหนอนเข้ามาทำลาย การใช้สารเคมีฉีดอาจมีสารตกค้างเป็นอันตรายต่อผู้ใช้และผู้บริโภค หรือมีปัญหาการดื้อยาของหนอน เมื่อฉีดพ่นสารเคมีไปแล้วหนอนไม่ตาย ทำให้พืชผักเสียหาย
04 ก.ค. 2567
ผู้ชม 1833 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคเน่าระดับดิน หรือโรคเน่าคอดิน เกิดจากเชื้อรา Pyhium aphanidermatum เป็นโรคที่สามารถเข้าทำลายได้ตั้งแต่เริ่มเพาะปลูกมีผลทำให้เมล็ด หรือ ต้นกล้าไม่งอก รากต้นอ่อนถูกเข้าทำลายทันที ทำให้ไม่มีใบเลี้ยงออกมา
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 2257 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ทุเรียน เป็นไม้ผลที่มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจของไทย มีแนวโน้มทางการตลาดที่ดี แต่การปลูกทุเรียน ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เนื่องจากทุเรียนเป็นพืชที่พบปัญหาโรคหลายชนิด โดยที่สำคัญคือ “โรครากเน่าโคนเน่า” ซึ่งโรคสามารถเข้าทำลายได้ทุกระยะของการปลูก รวมถึงทุกส่วนของต้น ได้แก่ ระบบราก ลำต้น ใบ กิ่ง และผล ถ้าเป็นในระยะการเจริญเติบโตทำให้ไม่สามารถให้ผลผลิตได้ ถ้าระบาดรุนแรงทำให้ต้นตายในที่สุด ซึ่งปัจจุบันการใช้สารเคมียังไม่ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง การใช้ชีวภัณฑ์ร่วมกับการจัดการจึงเป็นทางเลือกที่สามารถควบคุม
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2363 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum Mill) มีแหล่งปลูกและผลิต อย่างกว้างขวางทั่วโลก โดยเฉพาะเขตร้อนกึ่งร้อน ซึ่งประเทศไทยถือว่าเป็นแหล่งปลูกที่สำคัญเพื่อการบริโภคผลสดและส่งโรงงานแปรรูป แต่อย่างไรการปลูกก็ประสบปัญหาในเรื่องโรคและแมลงรบกวน ซึ่งโรคที่สำคัญที่พบคือ โรคใบไหม้ โรคใบจุดจากแบคทีเรีย โดยเฉพาะโรคเหี่ยวเขียว ที่สร้างปัญหาทำให้ผลผลิตเสียหาย 30-100 เปอร์เซ็นต์ ที่ยังไม่มีสารเคมีในการกำจัดโรคนี้ และถ้าปลูกในสภาพโรงเรือน การป้องกันโรคโดยการใช้ชีวภัณฑ์ จึงเป็นแนวทางในการลดความเสียหายของผลผลิ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 7865 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สภาพอากาศในช่วงนี้ที่มีฝนฟ้าคะนอง เกษตรกรชาวสวนทุเรียนเฝ้าระวังการระบาดของโรคใบติดหรือโรคใบไหม้ทุเรียน ซึ่งเป็นโรคที่สามารถพบได้ในระยะแตกใบอ่อนหรือหลังเก็บผลผลิต อาการเริ่มแรกจะพบบนใบ มีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 1244 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สภาพดินเป็นส่วนสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช เพราะถ้าดิน มีค่าความเป็นกรดหรือด่าง ความอุดมสมบูรณ์ และธาตุอาหารที่เหมาะสม จะส่งผลให้ต้นพืชแข็งแรงสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตตามที่เราต้องการได้
04 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 2179 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ฤดูฝนมักพบปัญหาน้ำท่วมขังต้นทุเรียน ในพื้นที่ปลูกที่มีการระบายน้ำไม่ดีหรือในพื้นต่ำ ส่งผลให้ต้นทุเรียนชักงักการเจริญเติบโต เกิดการระบาดของโรคพืช ถ้ารุนแรงจะทำให้ต้นทุเรียนตายได้ ดังนั้นหลังน้ำท่วมขังวิธีการฟื้นฟูต้นจึงเป็นสิ่งควรปฏิบัติเพื่อให้ต้นทุเรียนสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติลดการเข้าทำลายของเชื้อสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า
23 พ.ค. 2567
ผู้ชม 3373 ครั้ง