บทความชีวภัณฑ์
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์จริงๆและแล้วอาการพรุนนั้นมีจากหลายสาเหตุ ทั้งหนอนและแมลง แต่ลักษณะการพรุนเป็นรูค่อนข้างกลมขนาดเล็กๆเช่นนี้นั้นคือลักษณะการทำลายของ “ด้วงหมัดผัก” หรือ “หมัดกระโดด” หรือที่เกษตรกรบางพื้นที่เรียกกันว่า “กระเจา” ซึ่งการเข้าทำลายของด้วงหมัดผัก ซึ่งพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของผักตระกูลกะหล่ำและผักใบ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 4313 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ชีวภัณฑ์ในการกำจัดแมลงศัตรูพืชมีด้วยกันหลายชนิด ซึ่ง บิว – เวอร์ (เชื้อราบิวเวอร์เรีย บัสเซียน่า สายพันธุ์ BCC 2660 ) คือ ชีวภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการกำจัดแมลงศัตรูพืชกลุ่มปากเจาะดูดได้ดี แต่การจะใช้บิว-เวอร์ให้มีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงกลุ่มเป้าหมาย
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2203 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ไร คือสัตว์ขนาดเล็กที่ก่อปัญหาให้ต้นพืชเกิดความเสียหายเนื่องจากการเข้าทำลายโดยตรงและบางสายพันธุ์เป็นพาหนะนำเชื้อไวรัสเข้าสู่ต้นพืช เช่น ไรสี่ขา และยังสามารถปนเปื้อนไปกับสินค้าทางการเกษตร ทำให้ประสบปัญหาการกีดกันทางการค้า ซึ่งในช่วงนี้ฝนเริ่มทิ้งช่วง อากาศแห้งแล้งและมีลมพัดแรง เหมาะสำหรับการระบาดของไร จะพบระบาดสูงที่สุดในช่วงเดือนธันวาคม- มกราคม อ่านต่อ >>>
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2980 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การปลูกพืชส่วนใหญ่จะพบปัญหาโรคที่เกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรียเป็นหลัก ซึ่งการใช้สารเคมี มีข้อจำกัดเพราะมีความจำเฉพาะเจาะจง ถ้าต้องควบคุมเชื้อโรคทั้ง 2 กลุ่ม ต้องใช้สารเคมีหลายชนิดเพื่อควบคุมบางครั้งไม่สามารถจัดการได้ เชื้อบาซิลลัส ซับทิลิส ถือเป็นแนวทางการป้องกันโรคพืชได้ทั้งเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย ได้ดีมีประสิทธิภาพและยังมีความปลอดภัยสูง
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 6604 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในขณะนี้เกษตรกรประสบปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราทางดิน (Soil borne diseases) โดยเฉพาะโรครากเน่าโคนเน่า ที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora และโรคเหี่ยวเหลือง ที่เกิดจากเชื้อรา Fusarium การจัดการโรคค่อนข้างยากในสภาพแปลง เนื่องจากเชื้อสาเหตุโรคมีความสามารถในการอยู่รอดในดินได้ดี การใช้สารเคมีต้นทุนสูง ดังนั้นการจะกำจัดโรคให้ได้ผลจึงจำเป็นต้องใช้หลายวิธีการร่วมกัน เชื้อราไตรโคเดอร์มา ถือว่าเป็นแนวทางการป้องกันก่อนการเกิดโรค ที่ดีมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และยังมีความปลอดภัยสูง
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 765 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เพลี้ยไฟพริก (Scirothrips dorsalis Hoods) ซึ่งเป็นแมลงศัตรูที่มีความสำคัญมากชนิดหนึ่ง มักพบการระบาด ตั้งแต่หลังย้ายปลูก 1 เดือน ส่วนใหญ่เข้าทำลายบริเวณยอด และใบอ่อน ทำให้ยอดหรือใบอ่อนหงิก เมื่อใบพริกแก่จะเห็นเป็นรอยกร้านสีน้ำตาล ส่งผลให้การสังเคราะห์แสงลดลง พริกจะชะงักการเจริญเติบโต ให้ผลผลิตน้อยลง และมีช่วงอายุการเก็บเกี่ยวผลผลิตสั้น
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1169 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์พริก เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae สกุล Capsicum ชื่อภาษาอังกฤษว่า Chilli peppers, chili ถือเป็นพืชผัก/พืชสมุนไพรที่มีความสำคัญที่ใช้ทั้งบริโภค และการแปรรูปต่างๆ พริกถือว่าเป็นพืชส่งออกอีกชนิดที่น่าสนใจ จากข้อมูลสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2561 พบการส่งออกพริกแห้งมีมูลค่า 535,191,367.00 บาท แต่ปัญหาการผลิตพริกให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ปลอดภัย ยังไม่ประสบความสำเร็จ สาเหตุหลักเกิดจากโรคพืชและแมลงหลายชนิด
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 817 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เมื่อพืชได้รับปุ๋ยมากไป หรือให้ปุ๋ยผิดวิธี ซึ่งสามารถเกิดได้กับพืชทุกชนิด พืชจะแสดงอาการปลายใบไหม้ อาการใบเหลืองหรือสีน้ำตาลไหม้ มีสาเหตุมาจากระดับสารอาหารที่สะสมอยู่ในใบมากเกินไป เมื่อรากนำสารอาหารมามากเกินไป ทำให้ปลายใบเกิดสีเหลืองหรือสีน้ำตาล "เผาไหม้" หากระดับสารอาหารไม่ลดลงจะเริ่มเผาไหม้เข้าด้านในของใบและปลายใบจะเริ่มกรอบและบิด
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 16562 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สตรอว์เบอร์รี เป็นไม้ผลเขตกึ่งร้อนที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี สตรอว์เบอร์รีอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารมากมาย นอกจากนี้ยังเป็นผลไม้ที่ให้พลังงานต่ำ ไม่มีคอเรสเตอรอล และมีไฟเบอร์ อีกทั้งยังยับยั้งป้องกันโรค ช่วยบำรุงรักษาระบบต่างๆ ในร่างกาย ช่วยบำรุงผิวพรรณ และป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 4569 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคราน้ำค้าง เป็นโรคที่พบการระบาดกันทุกปีในพืชผัก และพืชตระกูลแตงเป็นส่วนมาก ทั้งในเมล่อน แคนตาลูป แตงกวา แตงล้าน แตงโม ไปจนถึงมะระ ราน้ำค้างสร้างความเสียหายให้กับผลผลิต โดยอาจทำให้ความหวานลดลง ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ ราน้ำค้างมักจะเกิดการระบาดในช่วงเวลาที่มีอากาศเย็น เหมาะต่อ การเจริญของเชื้อราสาเหตุของโรคจะขยายลุกลามได้รวดเร็ว
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 10727 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เกษตรกรที่ปลูกพืชมักเจอปัญหาพืชเจริญเติบโตได้ไม่ดีเท่าที่ควร และแก้ปัญหาโดยการใส่ปุ๋ยเพิ่ม แต่พืชไม่ตอบสนองต่อปุ๋ยที่ใส่ไป ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากสภาพดินที่ไม่เหมาะสม ทำให้ธาตุอาหารหรือปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินถูกตรึงเอาไว้อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถดึงไปใช้ประโยชน์ได้ การใช้จุลินทรีย์ละลายธาตุอาหารและการปรับค่าความเป็นกรด-ด่างในดิน จึงเป็นอีกวิธีที่สามารถช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณการใส่ปุ๋ยเคมีได้อีกด้วย
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3328 ครั้ง
-