-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์หนึ่งในปัญหาสำคัญที่มักสร้างความน่ากังวลใจเป็นอย่างมากคือ “เชื้อราร้าย” ที่มักทำลายผลผลิต ก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ วิธีแก้ปัญหาของเกษตรกรจำนวนมากจึงเลือกนำ “เชื้อราดี” อย่าง “เชื้อราไตรโคเดอร์มา” เข้ามาจัดการ แล้วเชื้อรา 2 ประเภทนี้แตกต่างกันอย่างไร ไปหาคำตอบกันเลย
04 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1114 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ส้มที่เป็นโรคกรีนนิ่ง และส้มที่ขาดธาตุสังกะสีจะแสดงลักษณะอาการผิดปกติหลายอย่างที่คล้ายกัน จนทำให้เกษตรกรเกิดความสับสนเมื่อพบอาการที่เกิดขึ้นในแปลงปลูกและอาจตัดสินใจผิดพลาดในการแก้ไขปัญหา เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ธาตุอาหาร และแมลง จึงควรทราบลักษณะอาการของโรคกรีนนิ่ง และการขาดธาตุสังกะสี เพื่อให้แน่ใจว่าวิธีการที่ใช้แก้ไขนั้นสามารถรักษาอาการของต้นพืชได้จริงๆ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3413 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัญหาดินเป็นกรดคืออีกความน่ากังวลใจของเหล่าบรรดาเกษตรกรทั้งหลาย การปรับปรุงดินที่เป็นกรดจึงมีความสำคัญและต้องรีบทำอย่างเร่งด่วนที่สุด ไม่เช่นนั้นอาจส่งผลเสียหายใหญ่หลวงทั้งกับพืชรวมถึงตัวเจ้าของสวนเอง ซึ่งใครที่ยังสงสัยว่าดินเป็นกรดสร้างความยุ่งยากมากน้อยเพียงใด ส่งผลกระทบแบบใดบ้าง มาศึกษาข้อมูลเพื่อรีบจัดการอย่างเร่งด่วนกันได้เลย
12 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1415 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ถั่วฝักยาว เป็นพืชอายุสั้น ปลูกได้ตลอดปี ปัญหาที่เกษตรผู้ปลูกมักเจอตลอดในช่วงอากาศร้อนและมีฝนเป็นบางช่วง คือโรคใบจุดและโรคสนิม สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต
27 พ.ค. 2567
ผู้ชม 8515 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เป็นศัตรูที่สำคัญของทุเรียน พบการระบาดทำความเสียหายให้กับทุเรียนอย่างมากในแหล่งปลูก ตัวเต็มวัยของแมลงชนิดนี้วางไข่เข้าไปในเนื้อเยื่อของใบพืช โดยจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบพืช ทำให้ใบอ่อนเป็นจุดสีเหลือง ไม่เจริญเติบโต ใบหงิกงอ แห้ง และร่วง
27 พ.ค. 2567
ผู้ชม 2449 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัจจุบันสภาพดินในแปลงปลูกพืชทั่วไปมีความเสื่อมโทรมลงอย่างมาก เนื่องจากเกษตรกรมีการใช้สารเคมี สารปราบศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี โดยไม่เคยปรับปรุงบำรุงดิน จึงทำให้พืชไม่เจริญเติบโต ประสบปัญหาการระบาดของโรคเชื้อราทางดิน การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาร่วมกับสารปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของ จึงเป็นอีกวิธีที่สามารถช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณการใส่ปุ๋ยเคมีได้อีกด้วย
23 พ.ค. 2567
ผู้ชม 1096 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Bacillus spp. เป็นเชื้อที่นิยมใช้กันทั่วโลกเพราะมีความปลอดภัยสูง ซึ่งพบได้ทั่วในธรรมชาติ มีรูปร่างเป็นท่อน (rod shape) ย้อมติดสีแกรมบวก (gram positive bacteria) สามารถสร้างเอน โดสปอร์ (endospores) ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญได้ดี จึงนิยมนำมาใช้ในการเกษตร
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 934 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ คือ ผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ผลิต, พัฒนามาจากสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ แต่ไม่นับรวมสารที่สกัดหรือแยกได้จากสิ่งมีชีวิตที่เป็นสารเคมีเชิงเดี่ยวเช่น ไพรีทรอยด์ นิโคติน อะบาเม็กติน ชีวภัณฑ์ (Microbial Pesticide) คือผลิตภัณฑ์ที่เป็นสิ่งมีชีวิตใช้ในการควบคุมศัตรูพืช ได้แก่ ตัวห้ำ ตัวเบียน และเชื้อจุลินทรีย์
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1058 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดเป็นเชื้อราชั้นสูง ที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากพืชซากสัตว์และอินทรีย์วัตถุเป็นแหล่งอาหาร ทำหน้าที่เชื้อราศัตรู (ปฏิปักษ์) ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืช เส้นใยมีสีขาว สปอร์มีสีเขียว ช่วยปกป้องรากพืชจากเชื้อโรค ช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ชักนำให้ต้นพืชมีความต้านทาน และเชื้อราไตรโคเดอร์มายังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะหรือสารพิษ ตลอดจนน้ำย่อยหรือเอนไซม์ สำหรับช่วยละลายผนังเส้นใยของเชื้อโรคพืชได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1142 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราเมธาไรเซียม หรือเชื้อราเขียว เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กพบในดินทั่วไป เป็นเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคกับแมลงศัตรูพืช เจริญเติบโตได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 27-30 องศาเซลเซียส และสร้างสปอร์ได้ เชื้อราเมธาไรเซียมสามารถทําลายแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด ทําลายได้ทั้งตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย เช่น ด้วงแรดมะพร้าว ด้วงหมัดผัก หนอนศัตรูพืช หนอนเจาะลําต้น หนอกกอ ปลวก หนอนทราย บั่ว ไร และเพลี้ยต่างๆ เช่นเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เป็นต้น
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 1611 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคตายพรายหรือโรคเหี่ยวในกล้วย (Panama disease) จะระบาดในช่วงฝนตกชุก มีน้ำขัง ดินระบายน้ำไม่ดี การป้องกันไว้ก่อนย่อมดีกว่าการแก้ปัญหาในภายหลัง เพราะโรคนี้มีความรุนแรงมาก สามารทำสวนกล้วยได้ เพราะโรคนี้สามารถติดไปกับหน่อพันธุ์ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่ปลูก และเกิดจากราสาเหตุโรคที่ไม่อาจใช้สารเคมีกำจัดเชื้อในดินให้ตายหมดไปได้ การป้องกันโรคโดยใช้ชีวภัณฑ์จึงเป็นแนวที่ใช้แก้ปัญหานี้ได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3320 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การนำชีวภัณฑ์ไปใช้ในสภาพแปลงสามารถผสมร่วมกันได้หรือไม่ นั่นคือการผสมรวมในถังเดียวกัน (Tank mix) โดยที่ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์แต่ละชนิดต้องไม่ลดลง และเป็นชีวภัณฑ์สายพันธุ์ที่ผ่านการทดสอบเท่านั้น
30 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2727 ครั้ง