บทความชีวภัณฑ์
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคราน้ำค้าง เป็นโรคที่พบการระบาดกันทุกปีในพืชผัก และพืชตระกูลแตงเป็นส่วนมาก ทั้งในเมล่อน แคนตาลูป แตงกวา แตงล้าน แตงโม ไปจนถึงมะระ ราน้ำค้างสร้างความเสียหายให้กับผลผลิต โดยอาจทำให้ความหวานลดลง ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ ราน้ำค้างมักจะเกิดการระบาดในช่วงเวลาที่มีอากาศเย็น เหมาะต่อ การเจริญของเชื้อราสาเหตุของโรคจะขยายลุกลามได้รวดเร็ว
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 11086 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เกษตรกรที่ปลูกพืชมักเจอปัญหาพืชเจริญเติบโตได้ไม่ดีเท่าที่ควร และแก้ปัญหาโดยการใส่ปุ๋ยเพิ่ม แต่พืชไม่ตอบสนองต่อปุ๋ยที่ใส่ไป ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากสภาพดินที่ไม่เหมาะสม ทำให้ธาตุอาหารหรือปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินถูกตรึงเอาไว้อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถดึงไปใช้ประโยชน์ได้ การใช้จุลินทรีย์ละลายธาตุอาหารและการปรับค่าความเป็นกรด-ด่างในดิน จึงเป็นอีกวิธีที่สามารถช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณการใส่ปุ๋ยเคมีได้อีกด้วย
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3415 ครั้ง
-
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในปัจจุบันกัญชากัญชงเป็นพืชที่กำลังได้รับความสนใจ มีการนำมาใช้รักษาโรคต่างๆ ซึ่งการนำกัญชา กัญชง มาใช้ในทางการแพทย์จำเป็นจะต้องไม่มีสารเคมี แต่อย่างที่ทราบกันดีว่าการปลูกกัญชา กัญชง นั้นจะมีแมลงศัตรูเข้าทำลายหลายชนิด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย การใช้ชีวภัณฑ์ร่วมกับวิธีการจัดการ มีอะไรบ้างและควรจัดการอย่างไร
07 ม.ค. 2568
ผู้ชม 27984 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในช่วงฤดูหนาวมะม่วงกำลังออกช่อดอกสวยๆเต็มต้น อากาศเย็นมีน้ำค้างในตอนเช้าโรคที่เป็นปัญหากับมะม่วงในช่วงนี้คงหนีไม่พ้นโรคราแป้ง ถ้าปล่อยให้โรคราแป้งระบาดคงไม่ดีแน่ ช่อมะม่วงจะเหลือแต่กิ่งแห้งๆกับเชื้อราขาวๆฟูๆ แล้วเราจะเอาผลผลิตที่ไหนไปขายดี เรามาทำความรู้จักกับโรคนี้กันเถอะ จะได้เอาไปสังเกตในสวนว่ามีโรคราแป้งบ้างรึยังนะคะ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3477 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เพลี้ยอ่อนเป็นแมลงศัตรูสำคัญในถั่ว ยิ่งเข้าช่วงหน้าหนาวอากาศแห้งแล้งเป็นช่วงที่เพลี้ยอ่อนจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงในส่วนต่างๆของต้นถั่วทำให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงมากอาจทำให้ไม่สามารถเก็บผลผลิตได้เลย ถ้าไม่รีบหาวิธีป้องกันกำจัดและทำความรู้จักกับเพลี้ยชนิดนี้ไว้ก่อนเราจะลงทุนฟรีได้เลย ไปดูกันนะคะว่าเพลี้ยอ่อนมีรูปร่างหน้าตาแบบไหนและมีการเข้าทำลายถั่วยังไงบ้าง
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1771 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เกษตรกรผู้ปลูกพริกควรระวัง ช่วงอากาศร้อน แห้งแล้ง เหมาะสมแก่การระบาดของแมลงซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อไวรัสมาสู่พริก ดังนั้นเกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบแมลงหรืออาการใบหงิก ใบม้วน ในแปลงพริก ควรหาวิธีป้องกันกำจัดแมลงทันที หากปล่อยไว้จะทำให้ต้นพริกเกิดโรคไวรัส ซึ่งจะทำต้นพืชชะงักการเจริญเติบโต จนถึงไม่สามารถเก็บผลผลิตได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 4654 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลกะหล่ำ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดที่มีพื้นที่สูง อากาศหนาวเย็น เช่น น่าน แพร่ เชียงราย เชียงใหม่ ตาก เพชรบูรณ์ ที่ปลูกซ้ำพื้นที่เดิมจะพบปัญหา ต้นพืชมีอาการต้นเหี่ยว หรือต้นแคระแกร็น เมื่อถอนต้นจะพบอาการรากบวม ถ้าระบาดรุนแรงจะทำให้ต้นตาย ไม่ให้ผลผลิต ซึ่งอาการดังกล่าวเรียกว่าโรครากบวมหรือ clubroot
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1595 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์มะม่วงเป็นผลไม้ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง เป็นผลไม้ส่งออกที่ได้รับความสนใจมากในตลาดต่างประเทศ แต่ก็เจอกับปัญหาผลผลิตและคุณภาพไม่ตรงตามความต้องการเพราะโดนแมลงศัตรูพืชเข้าทำลาย ซึ่งเพลี้ยจั๊กจั่นเป็นศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งที่ทำ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1523 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ช่วงที่มีหมอกลงในตอนเช้าแบบนี้ เกษตรกรมักพบ ‘‘โหระพา” มีอาการใบเหลืองเป็นหย่อมๆที่ใบล่าง และมีขุยสีเทาดำที่ใต้ใบ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่าโรคราน้ำค้าง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Peronospora sp. เชื้อราจะเข้าทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ส่วนมากทำลายที่ใบ ทำให้ใบเหลือง และแห้งเป็นสีน้ำตาล และหากเป็นในระยะกล้าหรือต้นเล็กจะแห้งตาย หากพบในช่วงระยะเก็บเกี่ยว ทำให้ไม่สามารถเก็บผลผลิตได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 10596 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัญหาใหญ่ที่ชาวสวนทุเรียนมักปวดหัวบ่อยครั้งนั่นคือ “โรคใบติดในทุเรียน” หรือบางคนจะเรียกโรคใบไหม้ก็ได้ สร้างความเสียหายให้กับต้นทุเรียนจำนวนมาก จึงอยากพาชาวเกษตรสวนทุเรียนทุกคนมาทำความเข้าใจกับโรคให้มากขึ้นพร้อมแนะนำวิธีป้องกันเพื่อลดความเสี่ยง เพื่อให้ได้ผลผลิตอย่างที่ตั้งใจไว้
10 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1229 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในการปลูกเมล่อนนั้นมีขั้นตอนในการปลูกและการดูแลค่อนข้างละเอียด และต้องใส่ใจในเรื่องต่างๆไม่ว่าจะเป็น การให้น้ำ การใส่ปุ๋ย ฮอร์โมนอาหารเสริม และการจัดการโรคและแมลงศัตรูพืชก็เป็นอีกเรื่องที่สำคัญมาก ซึ่งในเมล่อนจะมีการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้หลากหลาย ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ หนอน ที่เข้าทำลายกัดกินมล่อนได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะกล้าไปจนถึงระยะเก็บเกี่ยว จึงต้องมีการกำจัดที่ถูกวิธีและทันเวลา นอกจากการใช้สารเคมีในกำจัดหนอนแล้ว ยังสามารถใช้เชื้อแบคทีเรีย บาซิลัสทูริงเยนซิส (Bacillus thuringi
23 พ.ค. 2567
ผู้ชม 1235 ครั้ง