-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัญหาในการปลูกผักใบ ส่วนใหญ่ก็คือ เมื่อปลูกผักแล้วจะมีหนอนเข้ามาทำลาย การใช้สารเคมีฉีดอาจมีสารตกค้างเป็นอันตรายต่อผู้ใช้และผู้บริโภค หรือมีปัญหาการดื้อยาของหนอน เมื่อฉีดพ่นสารเคมีไปแล้วหนอนไม่ตาย ทำให้พืชผักเสียหาย
04 ก.ค. 2567
ผู้ชม 1974 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคเน่าระดับดิน หรือโรคเน่าคอดิน เกิดจากเชื้อรา Pyhium aphanidermatum เป็นโรคที่สามารถเข้าทำลายได้ตั้งแต่เริ่มเพาะปลูกมีผลทำให้เมล็ด หรือ ต้นกล้าไม่งอก รากต้นอ่อนถูกเข้าทำลายทันที ทำให้ไม่มีใบเลี้ยงออกมา
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 2386 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ทุเรียน เป็นไม้ผลที่มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจของไทย มีแนวโน้มทางการตลาดที่ดี แต่การปลูกทุเรียน ก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เนื่องจากทุเรียนเป็นพืชที่พบปัญหาโรคหลายชนิด โดยที่สำคัญคือ “โรครากเน่าโคนเน่า” ซึ่งโรคสามารถเข้าทำลายได้ทุกระยะของการปลูก รวมถึงทุกส่วนของต้น ได้แก่ ระบบราก ลำต้น ใบ กิ่ง และผล ถ้าเป็นในระยะการเจริญเติบโตทำให้ไม่สามารถให้ผลผลิตได้ ถ้าระบาดรุนแรงทำให้ต้นตายในที่สุด ซึ่งปัจจุบันการใช้สารเคมียังไม่ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริง การใช้ชีวภัณฑ์ร่วมกับการจัดการจึงเป็นทางเลือกที่สามารถควบคุม
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2526 ครั้ง
-
หมวดหมู่: ตอบปัญหาเกษตรกรพืช : มะเขือเทศหวาน จากภาพลักษณะอาการที่เกษตรกรส่งมา พบว่า ใบมะเขือเทศมี แผลจุดและแผลขยายขนาดลุกลามขยายใหญ่ มีผงสีดำกลางจุด เนื้อเยื่อที่เป็นแผลจะแห้งตาย อาการดังกล่าววินิจฉัยว่าเป็น โรครากำมะหยี่ในมะเขือเทศ ที่เกิดจากเชื้อรา cladosporium fulvum
11 พ.ย. 2567
ผู้ชม 713 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum Mill) มีแหล่งปลูกและผลิต อย่างกว้างขวางทั่วโลก โดยเฉพาะเขตร้อนกึ่งร้อน ซึ่งประเทศไทยถือว่าเป็นแหล่งปลูกที่สำคัญเพื่อการบริโภคผลสดและส่งโรงงานแปรรูป แต่อย่างไรการปลูกก็ประสบปัญหาในเรื่องโรคและแมลงรบกวน ซึ่งโรคที่สำคัญที่พบคือ โรคใบไหม้ โรคใบจุดจากแบคทีเรีย โดยเฉพาะโรคเหี่ยวเขียว ที่สร้างปัญหาทำให้ผลผลิตเสียหาย 30-100 เปอร์เซ็นต์ ที่ยังไม่มีสารเคมีในการกำจัดโรคนี้ และถ้าปลูกในสภาพโรงเรือน การป้องกันโรคโดยการใช้ชีวภัณฑ์ จึงเป็นแนวทางในการลดความเสียหายของผลผลิ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 8313 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สภาพอากาศในช่วงนี้ที่มีฝนฟ้าคะนอง เกษตรกรชาวสวนทุเรียนเฝ้าระวังการระบาดของโรคใบติดหรือโรคใบไหม้ทุเรียน ซึ่งเป็นโรคที่สามารถพบได้ในระยะแตกใบอ่อนหรือหลังเก็บผลผลิต อาการเริ่มแรกจะพบบนใบ มีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 1340 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สภาพดินเป็นส่วนสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช เพราะถ้าดิน มีค่าความเป็นกรดหรือด่าง ความอุดมสมบูรณ์ และธาตุอาหารที่เหมาะสม จะส่งผลให้ต้นพืชแข็งแรงสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตตามที่เราต้องการได้
04 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 2431 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ฤดูฝนมักพบปัญหาน้ำท่วมขังต้นทุเรียน ในพื้นที่ปลูกที่มีการระบายน้ำไม่ดีหรือในพื้นต่ำ ส่งผลให้ต้นทุเรียนชักงักการเจริญเติบโต เกิดการระบาดของโรคพืช ถ้ารุนแรงจะทำให้ต้นทุเรียนตายได้ ดังนั้นหลังน้ำท่วมขังวิธีการฟื้นฟูต้นจึงเป็นสิ่งควรปฏิบัติเพื่อให้ต้นทุเรียนสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติลดการเข้าทำลายของเชื้อสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า
23 พ.ค. 2567
ผู้ชม 5377 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์จริงๆและแล้วอาการพรุนนั้นมีจากหลายสาเหตุ ทั้งหนอนและแมลง แต่ลักษณะการพรุนเป็นรูค่อนข้างกลมขนาดเล็กๆเช่นนี้นั้นคือลักษณะการทำลายของ “ด้วงหมัดผัก” หรือ “หมัดกระโดด” หรือที่เกษตรกรบางพื้นที่เรียกกันว่า “กระเจา” ซึ่งการเข้าทำลายของด้วงหมัดผัก ซึ่งพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของผักตระกูลกะหล่ำและผักใบ
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 4500 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ชีวภัณฑ์ในการกำจัดแมลงศัตรูพืชมีด้วยกันหลายชนิด ซึ่ง บิว – เวอร์ (เชื้อราบิวเวอร์เรีย บัสเซียน่า สายพันธุ์ BCC 2660 ) คือ ชีวภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการกำจัดแมลงศัตรูพืชกลุ่มปากเจาะดูดได้ดี แต่การจะใช้บิว-เวอร์ให้มีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงกลุ่มเป้าหมาย
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2234 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ไร คือสัตว์ขนาดเล็กที่ก่อปัญหาให้ต้นพืชเกิดความเสียหายเนื่องจากการเข้าทำลายโดยตรงและบางสายพันธุ์เป็นพาหนะนำเชื้อไวรัสเข้าสู่ต้นพืช เช่น ไรสี่ขา และยังสามารถปนเปื้อนไปกับสินค้าทางการเกษตร ทำให้ประสบปัญหาการกีดกันทางการค้า ซึ่งในช่วงนี้ฝนเริ่มทิ้งช่วง อากาศแห้งแล้งและมีลมพัดแรง เหมาะสำหรับการระบาดของไร จะพบระบาดสูงที่สุดในช่วงเดือนธันวาคม- มกราคม อ่านต่อ >>>
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 3113 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การปลูกพืชส่วนใหญ่จะพบปัญหาโรคที่เกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรียเป็นหลัก ซึ่งการใช้สารเคมี มีข้อจำกัดเพราะมีความจำเฉพาะเจาะจง ถ้าต้องควบคุมเชื้อโรคทั้ง 2 กลุ่ม ต้องใช้สารเคมีหลายชนิดเพื่อควบคุมบางครั้งไม่สามารถจัดการได้ เชื้อบาซิลลัส ซับทิลิส ถือเป็นแนวทางการป้องกันโรคพืชได้ทั้งเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย ได้ดีมีประสิทธิภาพและยังมีความปลอดภัยสูง
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 7175 ครั้ง