บทความชีวภัณฑ์
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดเป็นเชื้อราชั้นสูง ที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากพืชซากสัตว์และอินทรีย์วัตถุเป็นแหล่งอาหาร ทำหน้าที่เชื้อราศัตรู (ปฏิปักษ์) ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืช เส้นใยมีสีขาว สปอร์มีสีเขียว ช่วยปกป้องรากพืชจากเชื้อโรค ช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ชักนำให้ต้นพืชมีความต้านทาน และเชื้อราไตรโคเดอร์มายังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะหรือสารพิษ ตลอดจนน้ำย่อยหรือเอนไซม์ สำหรับช่วยละลายผนังเส้นใยของเชื้อโรคพืชได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1111 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราเมธาไรเซียม หรือเชื้อราเขียว เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กพบในดินทั่วไป เป็นเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคกับแมลงศัตรูพืช เจริญเติบโตได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 27-30 องศาเซลเซียส และสร้างสปอร์ได้ เชื้อราเมธาไรเซียมสามารถทําลายแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด ทําลายได้ทั้งตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย เช่น ด้วงแรดมะพร้าว ด้วงหมัดผัก หนอนศัตรูพืช หนอนเจาะลําต้น หนอกกอ ปลวก หนอนทราย บั่ว ไร และเพลี้ยต่างๆ เช่นเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เป็นต้น
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 1529 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคตายพรายหรือโรคเหี่ยวในกล้วย (Panama disease) จะระบาดในช่วงฝนตกชุก มีน้ำขัง ดินระบายน้ำไม่ดี การป้องกันไว้ก่อนย่อมดีกว่าการแก้ปัญหาในภายหลัง เพราะโรคนี้มีความรุนแรงมาก สามารทำสวนกล้วยได้ เพราะโรคนี้สามารถติดไปกับหน่อพันธุ์ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่ปลูก และเกิดจากราสาเหตุโรคที่ไม่อาจใช้สารเคมีกำจัดเชื้อในดินให้ตายหมดไปได้ การป้องกันโรคโดยใช้ชีวภัณฑ์จึงเป็นแนวที่ใช้แก้ปัญหานี้ได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3079 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การนำชีวภัณฑ์ไปใช้ในสภาพแปลงสามารถผสมร่วมกันได้หรือไม่ นั่นคือการผสมรวมในถังเดียวกัน (Tank mix) โดยที่ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์แต่ละชนิดต้องไม่ลดลง และเป็นชีวภัณฑ์สายพันธุ์ที่ผ่านการทดสอบเท่านั้น
30 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2561 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัจจุบันเกษตรกรหันมาปลูกพืชในสภาพโรงเรือน เนื่องจากหลีกเลี่ยงและลดปัญหาของโรคและแมลงศัตรูพืช โดยเฉพาะพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่นพืชในวงศ์ Solanaceae ตระกูลพริก มะเขือเทศ เป็นต้น
27 พ.ค. 2567
ผู้ชม 2845 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นการปลูกพืชแบบไม่ใช้วัสดุปลูก (no substrate หรือ water cuture) ซึ่งเป็นลักษณะของการปลูกพืชลงบนสารละลายธาตุอาหารพืชโดยให้รากสัมผัสกับสารอาหารโดยตรง สามารถควบคุมกระบวนการผลิตได้ ส่งผลให้ได้ผลผลิตผักที่มีคุณภาพ
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 6 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในช่วงฤดูฝนเป็นช่วงที่เกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลมะนาวและส้มควรระวังและป้องกันการเกิด โรคแคงเกอร์เนื่องจากมีฝนตกติดต่อกัน ทำให้สภาพอากาศชื้น เหมาะต่อการเกิด โรคแคงเกอร์ หรือที่ชาวสวนเรียกกันว่าโรคขี้กากส้ม เป็นโรคประจำตัวของพืชตระกูลส้ม บางสายพันธุ์ทนทานต่อโรคนี้ บางสายพันธุ์ก็อ่อนแอต่อโรคนี้และเป็นปัญหาส่งผลกระทบถึงผลผลิต สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 2536 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์อีกหนึ่งปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกส้ม จะพบการระบาดของเพลี้ยหอยในแปลง ซึ่งชนิดเพลี้ยหอยที่ระบาดในพืชตระกูลส้ม จะเป็นเพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนียซึ่งเป็นแมลงที่จัดอยู่ในแมลงกลุ่มปากเจาะดูด ไม่ว่าจะเป็นส้มเขียวหวาน ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโอ รวมไปถึงมะนาว ซึ่งจะเข้าทำลายตามใบ กิ่ง และผลอ่อน ทำให้ผลผลิตเสียหายส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตร
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 4947 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในช่วงที่มะม่วงออกช่อติดผล ถ้าเจอกับปัญหาการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้ง ซึ่งสามารถเข้าทำลายได้ทุกช่วงการเจริญเติบโต ทำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ และยิ่งผลผลิตเพื่อส่งออกขายตลาดต่างประเทศ จะไม่สามารถส่งออกได้ ดังนั้นการป้องกันตั้งแต่เริ่มพบเพลี้ยแป้งจึงถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ
22 เม.ย. 2567
ผู้ชม 3066 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในช่วงนี้ที่อากาศร้อน แสงแดดจัด หลายคนน่าจะเจอปัญหาคล้ายๆกันว่า ทำไมต้นไม้ที่บ้านของเราเริ่มมีอาการใบซีดเหลือง เกิดเป็นแผลไหม้สีน้ำตาลที่บริเวณขอบใบ กลางใบหรือปลายใบ โดยเรียกอาการผิดปกตินี้ว่า แดดเผา หรือซันเบิร์น(Sunburn) โดยความผิดปกตินี้ไม่ใช่อาการที่เกิดจากโรคหรือแมลงศัตรูเข้าทำลายแต่เกิดจากใบ ผล กิ่ง หรือลำต้น ถูกแสงแดดจัดมากเผาต่อเนื่องจนทำให้ผิวเซลล์ และเม็ดสีคลอโรฟิลล์ถูกเผาทำลายโดยเซลล์บริเวณที่ได้รับแสงแดดมากเกินไปเกิดอาการสูญเสียน้ำและถูกทำลายเกิดอาการไหม้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 4382 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เมื่อใกล้เข้าสู่เดือนแห่งความรัก หลายคนก็คงนึกถึงกุหลาบ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความรัก ผู้คนนิยมปลูกกุหลาบเพื่อการค้า หรือปลูกเลี้ยงทั่วไป จนกระทั่งได้ฉายาว่าราชินีแห่งดอกไม้ แต่ในความสวยงามที่เห็นนั้นก็ยังคงต้องเฝ้าระวังภัยร้ายจาก "เพลี้ยไฟ" ศัตรูตัวสำคัญของไม้ดอกที่ผู้ปลูกควรระวัง
24 ก.ค. 2567
ผู้ชม 4234 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์หอมและกระเทียมเป็นผักที่จัดอยู่ในประเภทพืชอาหารหลักชนิดหนึ่งของคนไทย เป็นสมุนไพรมีคุณค่าทั้งทางอาหารและทางยาสูงจึงยิ่งทำให้มีผู้นิยมบริโภคมาก แม้จะมีการปลูกกันเป็นจำนวนมาก
23 พ.ค. 2567
ผู้ชม 890 ครั้ง