บทความชีวภัณฑ์
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัจจุบันสภาพดินในแปลงปลูกพืชทั่วไปมีความเสื่อมโทรมลงอย่างมาก เนื่องจากเกษตรกรมีการใช้สารเคมี สารปราบศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี โดยไม่เคยปรับปรุงบำรุงดิน จึงทำให้พืชไม่เจริญเติบโต ประสบปัญหาการระบาดของโรคเชื้อราทางดิน การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาร่วมกับสารปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของ จึงเป็นอีกวิธีที่สามารถช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวได้ อีกทั้งยังช่วยลดปริมาณการใส่ปุ๋ยเคมีได้อีกด้วย
23 พ.ค. 2567
ผู้ชม 1096 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Bacillus spp. เป็นเชื้อที่นิยมใช้กันทั่วโลกเพราะมีความปลอดภัยสูง ซึ่งพบได้ทั่วในธรรมชาติ มีรูปร่างเป็นท่อน (rod shape) ย้อมติดสีแกรมบวก (gram positive bacteria) สามารถสร้างเอน โดสปอร์ (endospores) ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญได้ดี จึงนิยมนำมาใช้ในการเกษตร
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 934 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ คือ ผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ผลิต, พัฒนามาจากสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ แต่ไม่นับรวมสารที่สกัดหรือแยกได้จากสิ่งมีชีวิตที่เป็นสารเคมีเชิงเดี่ยวเช่น ไพรีทรอยด์ นิโคติน อะบาเม็กติน ชีวภัณฑ์ (Microbial Pesticide) คือผลิตภัณฑ์ที่เป็นสิ่งมีชีวิตใช้ในการควบคุมศัตรูพืช ได้แก่ ตัวห้ำ ตัวเบียน และเชื้อจุลินทรีย์
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1058 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดเป็นเชื้อราชั้นสูง ที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากพืชซากสัตว์และอินทรีย์วัตถุเป็นแหล่งอาหาร ทำหน้าที่เชื้อราศัตรู (ปฏิปักษ์) ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืช เส้นใยมีสีขาว สปอร์มีสีเขียว ช่วยปกป้องรากพืชจากเชื้อโรค ช่วยในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ชักนำให้ต้นพืชมีความต้านทาน และเชื้อราไตรโคเดอร์มายังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะหรือสารพิษ ตลอดจนน้ำย่อยหรือเอนไซม์ สำหรับช่วยละลายผนังเส้นใยของเชื้อโรคพืชได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 1142 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์เชื้อราเมธาไรเซียม หรือเชื้อราเขียว เป็นจุลินทรีย์ขนาดเล็กพบในดินทั่วไป เป็นเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคกับแมลงศัตรูพืช เจริญเติบโตได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 27-30 องศาเซลเซียส และสร้างสปอร์ได้ เชื้อราเมธาไรเซียมสามารถทําลายแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด ทําลายได้ทั้งตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย เช่น ด้วงแรดมะพร้าว ด้วงหมัดผัก หนอนศัตรูพืช หนอนเจาะลําต้น หนอกกอ ปลวก หนอนทราย บั่ว ไร และเพลี้ยต่างๆ เช่นเพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยหอย เป็นต้น
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 1611 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์โรคตายพรายหรือโรคเหี่ยวในกล้วย (Panama disease) จะระบาดในช่วงฝนตกชุก มีน้ำขัง ดินระบายน้ำไม่ดี การป้องกันไว้ก่อนย่อมดีกว่าการแก้ปัญหาในภายหลัง เพราะโรคนี้มีความรุนแรงมาก สามารทำสวนกล้วยได้ เพราะโรคนี้สามารถติดไปกับหน่อพันธุ์ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่ปลูก และเกิดจากราสาเหตุโรคที่ไม่อาจใช้สารเคมีกำจัดเชื้อในดินให้ตายหมดไปได้ การป้องกันโรคโดยใช้ชีวภัณฑ์จึงเป็นแนวที่ใช้แก้ปัญหานี้ได้
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 3320 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การนำชีวภัณฑ์ไปใช้ในสภาพแปลงสามารถผสมร่วมกันได้หรือไม่ นั่นคือการผสมรวมในถังเดียวกัน (Tank mix) โดยที่ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์แต่ละชนิดต้องไม่ลดลง และเป็นชีวภัณฑ์สายพันธุ์ที่ผ่านการทดสอบเท่านั้น
30 ก.ค. 2567
ผู้ชม 2727 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ปัจจุบันเกษตรกรหันมาปลูกพืชในสภาพโรงเรือน เนื่องจากหลีกเลี่ยงและลดปัญหาของโรคและแมลงศัตรูพืช โดยเฉพาะพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่นพืชในวงศ์ Solanaceae ตระกูลพริก มะเขือเทศ เป็นต้น
27 พ.ค. 2567
ผู้ชม 3002 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นการปลูกพืชแบบไม่ใช้วัสดุปลูก (no substrate หรือ water cuture) ซึ่งเป็นลักษณะของการปลูกพืชลงบนสารละลายธาตุอาหารพืชโดยให้รากสัมผัสกับสารอาหารโดยตรง สามารถควบคุมกระบวนการผลิตได้ ส่งผลให้ได้ผลผลิตผักที่มีคุณภาพ
05 ก.ย. 2567
ผู้ชม 508 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในช่วงฤดูฝนเป็นช่วงที่เกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลมะนาวและส้มควรระวังและป้องกันการเกิด โรคแคงเกอร์เนื่องจากมีฝนตกติดต่อกัน ทำให้สภาพอากาศชื้น เหมาะต่อการเกิด โรคแคงเกอร์ หรือที่ชาวสวนเรียกกันว่าโรคขี้กากส้ม เป็นโรคประจำตัวของพืชตระกูลส้ม บางสายพันธุ์ทนทานต่อโรคนี้ บางสายพันธุ์ก็อ่อนแอต่อโรคนี้และเป็นปัญหาส่งผลกระทบถึงผลผลิต สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
17 มิ.ย. 2567
ผู้ชม 2656 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์อีกหนึ่งปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกส้ม จะพบการระบาดของเพลี้ยหอยในแปลง ซึ่งชนิดเพลี้ยหอยที่ระบาดในพืชตระกูลส้ม จะเป็นเพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนียซึ่งเป็นแมลงที่จัดอยู่ในแมลงกลุ่มปากเจาะดูด ไม่ว่าจะเป็นส้มเขียวหวาน ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโอ รวมไปถึงมะนาว ซึ่งจะเข้าทำลายตามใบ กิ่ง และผลอ่อน ทำให้ผลผลิตเสียหายส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตร
25 ธ.ค. 2567
ผู้ชม 5147 ครั้ง
-
หมวดหมู่: บทความชีวภัณฑ์ในช่วงที่มะม่วงออกช่อติดผล ถ้าเจอกับปัญหาการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้ง ซึ่งสามารถเข้าทำลายได้ทุกช่วงการเจริญเติบโต ทำให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ และยิ่งผลผลิตเพื่อส่งออกขายตลาดต่างประเทศ จะไม่สามารถส่งออกได้ ดังนั้นการป้องกันตั้งแต่เริ่มพบเพลี้ยแป้งจึงถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ
22 เม.ย. 2567
ผู้ชม 3291 ครั้ง